20 วิธี ลดค่าใช้จ่ายในบ้าน จะทำให้มีเงินเก็บเพิ่มมากขึ้น
เป็นที่ทราบกันดีว่าปัญหาเรื่องเงินทองนั้น นับว่าเป็นปัญหาหลักที่เกือบทุกครัวเรือนต้อง พบเจอเลยทีเดียว ด้วยภาระค่าใช้จ่ายที่มีอยู่มากมาย เงินทองที่พอจะหาได้ก็หายากขึ้นทุกวันๆ รายได้ไม่พอจ่าย ค่าใช้จ่ายทุกอย่างแพงขึ้น
เป็นที่ทราบกันดีว่าปัญหาเรื่องเงินทองนั้น นับว่าเป็นปัญหาหลักที่เกือบทุกครัวเรือนต้อง พบเจอเลยทีเดียว ด้วยภาระค่าใช้จ่ายที่มีอยู่มากมาย เงินทองที่พอจะหาได้ก็หายากขึ้นทุกวันๆ รายได้ไม่พอจ่าย ค่าใช้จ่ายทุกอย่างแพงขึ้น
ดังนั้นแล้ว อย่ามัวแต่เ ค รี ย ดคิดหาเงินมาใช้จ่ายกัน
เพียงอย่างเดียวเลยค่ะ เราควรจะมาหาวิธีช่วยลดค่าใช้จ่ายในบ้านลงบ้างดีกว่า ซึ่งวันนี้
ก็มีวิธีการง่ายๆ ที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในบ้านได้ ซึ่งมีมาฝากถึง 20 วิธีการด้วยกัน
ลดค่าใช้จ่ายเรื่องอ าห า ร
1. ทำอ าห า รกินเองในครัวเรือนให้บ่อยขึ้น หากทำทานแล้วเหลือก็เก็บไว้ในตู้เย็น เพื่อกินในมื้อถัดๆ ไป มื้อกลางวันถ้าห่ออ าห า รจากที่บ้านไปกินที่ทำงาน หากทาน อ าห า รนอกบ้านก็ลดความถี่ลงและเลือกร้านที่อ าห า รไม่แพงจนเกินไป
2. ซื้อผักผลไม้ตามฤดูกาล นอกจากจะประหยัดได้แล้ว ยังเป็นช่วงที่ผักผลไม้มีคุณภาพสูงที่สุดด้วย ดังนั้นถ้าเจอที่ๆ ขายราคาถูกมากๆ ซื้อมาเลยเยอะๆ แล้วแช่แข็งไว้บางส่วนเพื่อให้นำมาใช้ได้นานๆ
3. ซื้อของสดที่ตลาด จะถูกกว่าซื้อที่ห้า งส ร ร พ สินค้า เวลาไปตลาดเพื่อซื้อของสดมา ทำอ าห า ร ให้เดินเปรียบเทียบหลายๆ ร้านเพื่อหาร้านที่มีของสดที่สดที่สุด และราคาเหมาะสมที่สุด
4. ปลูกพืชผักชสวนครัวที่ใช้บ่อยๆ ไว้กินเอง เช่น กะเพรา พริกขี้หนู ต้นหอม ผักชี ผักบุ้ง มะนาว ลงในกระถางดินในบ้าน จะได้ไม่ต้องซื้อ แถมยังปลอดส า รพิ ษอีกด้วย
5. ตัดรายการอ าห า รสะดวก (อุ่น) กิน และอาหารกินเล่นออกไปจากรายการซื้อของ เพราะ ของกินเล่นมักซื้อเพราะความอยาก เอาเข้าจริงๆ มักไม่ได้กิน จนกระทั่งหมดอายุแล้วก็ต้องทิ้ง
6. จดรายการของที่ต้องซื้อ และซื้อตามรายการเท่านั้น อย่าซื้อเพราะโ ฆ ษ ณ า หรือเห็น แก่ของแถมซึ่งไม่จำเป็นได้ใช้ อย่าไปซู ปเปอร์ ม า ร์เก็ตเว้นแต่มีของจำเป็นต้องซื้อ
ค่าสาธารณูปโภค
7. ปิดไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า พร้อมถอดปลั๊ก(ไม่เสียบทิ้งไว้) และก๊อกน้ำทุกครั้งที่ไม่ใช่งานหรือไม่จำเป็น บางบ้านมีโคมไฟที่ใช้ตกแต่งบ้านเท่านั้น ถ้างดเปิดตรงส่วนนี้จะช่วยให้ประหยัดค่าไฟได้ หลายบาทต่อเดือน สามารถปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกใช้งานจริงประมาณ 15-30 นาที เพราะพอปิดแอร์แล้วมันก็จะยังมีความเย็นเหลืออยู่ จะได้ประหยัดค่าไฟอีกหน่อย
8. เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดพ ลั งงาน เช่น เครื่องปรับอากาศ หม้อหุงข้าว ตู้เย็น ไมโครเวฟ หากเป็นรุ่นเก่ามากๆ อาจจะกินไฟมากกว่ารุ่นใหม่ๆ ถ้าอยากประหยัดไฟ ในระยะยาว ควรซื้อของรุ่นใหม่มาเปลี่ยนจะดีกว่า
9. หากต้องอบอ าห า ร ให้อบหลายอย่างพร้อมกันดีกว่า แต่ถ้ามีปริมาณน้อย ให้ใช้เครื่องปิ้งขนมปังหรือเครื่องไมโครเวฟแทนการใช้เตาอบขนาดใหญ่
10. ดูแลรั ก ษ าสภาพการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกอย่าง ให้อยู่ในสภาพที่ทำงานได้ดีอยู่เสมอ ทั้งนี้ รวมถึงการทำความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศบ่อยๆก็ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าได้ หมวดข้าวของเครื่องใช้
11. ของที่จำเป็นต้องใช้ตลอด และสามารถเก็บได้นานไม่เสียง่ายๆ ให้สำรวจตลาดหากพบว่าลดราคาอยู่ ให้ซื้อตุนไว้ไปเลย เช่น ผงซักฟอก น้ำย าปรับผ้านุ่ม กระดาษชำระ แชมพู สบู่ ผ้าอ้อมเด็ก (บ้านที่มีเด็กเล็ก) เป็นต้น
12. ลดความถี่ในการเดินช็อปปิ้งลง ไม่ว่าจะไปเดินตลาดคลองถมที่มีแต่ของถูกๆ ขาย หรือเดินห้าง เพราะนั่น เท่ากับเป็นการเพิ่มโอกาสในการใช้จ่ายแบบไม่ได้วางแผนมาก่อน และมักทำให้ เกิดความอยากได้อยากซื้อของเยอะแยะมากมายโดยไม่จำเป็น
13. ของแพงไม่ได้หมายความว่าจะเป็นของดีเสมอไป ดังนั้น บางอย่างที่ใช้แทนกันได้ ระหว่างของ ยี่ห้อดังราคาแพง กับของที่อาจไม่ดังเท่าแต่ราคาถูกกว่า แต่คุณภาพเท่ากัน หรือ แทนกันได้ ให้เลือกอย่างหลัง เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
14. งดซื้อเสื้อผ้าตามแฟชั่น เพราะมักจะนิยมในเวลาสั้นๆ เท่านั้น พอรุ่นใหม่ออกก็ต้องซื้อใหม่ทั้งที่ตัวเก่า ยังดีอยู่ แต่เห็นว่าไม่ทันสมัยแล้ว จึงควรเลือกซื้อเสื้อผ้าแบบเรียบๆ ที่สามารถใช้ได้หลายโอกาสจะดีกว่า
15. เวลาเลือกเสื้อผ้าใหม่ ควรเลือกให้เข้ากันได้กับเสื้อผ้าที่มีอยู่เดิม และสามารถ ดัดแปลงรูปแบบการใส่ได้มากขึ้น เช่นกางเกงยีน กระโปรงสีพื้น เสื้อยืดเรียบๆ เป็นต้น
16. ศูนย์แสดงสินค้าราคาถูกของโรงงาน เป็นแหล่งที่เหมาะแก่การเลือกซื้อ เพราะมีคุณภาพพอควร แต่ราคาไม่แพงเท่าห้างใหญ่ๆ หรืออาจเลือกซื้อจากร้านของของมือสอง ซึ่งก็จะยิ่งถูกลงไปอีก
17. เสื้อผ้าบางตัวยังดีอยู่ หากมีการชำรุด ไม่ควรทิ้ง ควรซ่อม และหากว่าเรียนรู้วิธีเย็บเสื้อผ้า ไว้ได้ก็จะเป็นการดี เพื่อการซ่อมแซมเสื้อผ้าของทุกคนในบ้าน ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดทั่วไป
18. ไม่ซื้อประกันโดยไม่จำเป็น เช่น การซื้อประกันชีวิตให้ลูกเล็กๆ ถ้ามีเงินสำรองฉุ กเฉิ นเยอะพอ อาจใช้วิธีการฝากเงินออมแทน การพิจารณาลดค่าเ บี้ ยปร ะกั น รวมถึงการ ลดปร ะกั นสำหรับรถที่ไม่ชนเลย
19. ล้างรถ และเปลี่ยนน้ำมั นเครื่ อ งด้วยตัวเอง ถ้ามีเวลาว่างให้ศึกษาวิธีซ่อมบำรุงรถยนต์ รวมถึงหลีกเลี่ยง รายจ่ายที่ไม่จำเป็นของรถยนต์ ด้วยการซ่อมบำรุงรถตามโปรแกรมอยู่เสมอ
20. ถ้าจะเดินทางด้วยเครื่องบิน สามารถตีตั๋วราคาถูกที่สุดได้ด้วยการวางแผนล่วงหน้านานๆ สายการบิน ส่วนใหญ่มีโปรโมชันให้เลือก แต่มีข้อแม้ว่าควรรู้วันและเวลาที่ต้องเดินทางที่แน่ชัด ด้วยนะคะ เพราะการเปลี่ยนแปลงตั๋วอาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากเพราะเราทุกคนรู้ดีว่า เรื่องเงินทองนั้น เป็นเรื่องที่สำคัญและจำเป็นอย่างมากนะคะ ดังนั้นแล้วเงินที่หามาได้ก็ควรที่จะใช้อย่าง ประหยัด เพื่อจะได้มีเงินพอสำหรับจ่ายภาระค่าใช้จ่ายทุกอย่างที่จำเป็น ที่สำคัญ ก็ควรจะมีเงินเก็บ สักก้อนเตรียมไว้บ้างเผื่อคราวจำเป็น จะได้ไม่ขัดสนเดือดร้อน และใช้ชีวิตอย่างมี ความสุขได้ในทุกๆ วันค่ะ
ขอบคุณที่มา : r e v i e w p r o m o t e
ลดค่าใช้จ่ายเรื่องอ าห า ร
1. ทำอ าห า รกินเองในครัวเรือนให้บ่อยขึ้น หากทำทานแล้วเหลือก็เก็บไว้ในตู้เย็น เพื่อกินในมื้อถัดๆ ไป มื้อกลางวันถ้าห่ออ าห า รจากที่บ้านไปกินที่ทำงาน หากทาน อ าห า รนอกบ้านก็ลดความถี่ลงและเลือกร้านที่อ าห า รไม่แพงจนเกินไป
2. ซื้อผักผลไม้ตามฤดูกาล นอกจากจะประหยัดได้แล้ว ยังเป็นช่วงที่ผักผลไม้มีคุณภาพสูงที่สุดด้วย ดังนั้นถ้าเจอที่ๆ ขายราคาถูกมากๆ ซื้อมาเลยเยอะๆ แล้วแช่แข็งไว้บางส่วนเพื่อให้นำมาใช้ได้นานๆ
3. ซื้อของสดที่ตลาด จะถูกกว่าซื้อที่ห้า งส ร ร พ สินค้า เวลาไปตลาดเพื่อซื้อของสดมา ทำอ าห า ร ให้เดินเปรียบเทียบหลายๆ ร้านเพื่อหาร้านที่มีของสดที่สดที่สุด และราคาเหมาะสมที่สุด
4. ปลูกพืชผักชสวนครัวที่ใช้บ่อยๆ ไว้กินเอง เช่น กะเพรา พริกขี้หนู ต้นหอม ผักชี ผักบุ้ง มะนาว ลงในกระถางดินในบ้าน จะได้ไม่ต้องซื้อ แถมยังปลอดส า รพิ ษอีกด้วย
5. ตัดรายการอ าห า รสะดวก (อุ่น) กิน และอาหารกินเล่นออกไปจากรายการซื้อของ เพราะ ของกินเล่นมักซื้อเพราะความอยาก เอาเข้าจริงๆ มักไม่ได้กิน จนกระทั่งหมดอายุแล้วก็ต้องทิ้ง
6. จดรายการของที่ต้องซื้อ และซื้อตามรายการเท่านั้น อย่าซื้อเพราะโ ฆ ษ ณ า หรือเห็น แก่ของแถมซึ่งไม่จำเป็นได้ใช้ อย่าไปซู ปเปอร์ ม า ร์เก็ตเว้นแต่มีของจำเป็นต้องซื้อ
ค่าสาธารณูปโภค
7. ปิดไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า พร้อมถอดปลั๊ก(ไม่เสียบทิ้งไว้) และก๊อกน้ำทุกครั้งที่ไม่ใช่งานหรือไม่จำเป็น บางบ้านมีโคมไฟที่ใช้ตกแต่งบ้านเท่านั้น ถ้างดเปิดตรงส่วนนี้จะช่วยให้ประหยัดค่าไฟได้ หลายบาทต่อเดือน สามารถปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเลิกใช้งานจริงประมาณ 15-30 นาที เพราะพอปิดแอร์แล้วมันก็จะยังมีความเย็นเหลืออยู่ จะได้ประหยัดค่าไฟอีกหน่อย
8. เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดพ ลั งงาน เช่น เครื่องปรับอากาศ หม้อหุงข้าว ตู้เย็น ไมโครเวฟ หากเป็นรุ่นเก่ามากๆ อาจจะกินไฟมากกว่ารุ่นใหม่ๆ ถ้าอยากประหยัดไฟ ในระยะยาว ควรซื้อของรุ่นใหม่มาเปลี่ยนจะดีกว่า
9. หากต้องอบอ าห า ร ให้อบหลายอย่างพร้อมกันดีกว่า แต่ถ้ามีปริมาณน้อย ให้ใช้เครื่องปิ้งขนมปังหรือเครื่องไมโครเวฟแทนการใช้เตาอบขนาดใหญ่
10. ดูแลรั ก ษ าสภาพการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกอย่าง ให้อยู่ในสภาพที่ทำงานได้ดีอยู่เสมอ ทั้งนี้ รวมถึงการทำความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศบ่อยๆก็ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าได้ หมวดข้าวของเครื่องใช้
11. ของที่จำเป็นต้องใช้ตลอด และสามารถเก็บได้นานไม่เสียง่ายๆ ให้สำรวจตลาดหากพบว่าลดราคาอยู่ ให้ซื้อตุนไว้ไปเลย เช่น ผงซักฟอก น้ำย าปรับผ้านุ่ม กระดาษชำระ แชมพู สบู่ ผ้าอ้อมเด็ก (บ้านที่มีเด็กเล็ก) เป็นต้น
12. ลดความถี่ในการเดินช็อปปิ้งลง ไม่ว่าจะไปเดินตลาดคลองถมที่มีแต่ของถูกๆ ขาย หรือเดินห้าง เพราะนั่น เท่ากับเป็นการเพิ่มโอกาสในการใช้จ่ายแบบไม่ได้วางแผนมาก่อน และมักทำให้ เกิดความอยากได้อยากซื้อของเยอะแยะมากมายโดยไม่จำเป็น
13. ของแพงไม่ได้หมายความว่าจะเป็นของดีเสมอไป ดังนั้น บางอย่างที่ใช้แทนกันได้ ระหว่างของ ยี่ห้อดังราคาแพง กับของที่อาจไม่ดังเท่าแต่ราคาถูกกว่า แต่คุณภาพเท่ากัน หรือ แทนกันได้ ให้เลือกอย่างหลัง เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
14. งดซื้อเสื้อผ้าตามแฟชั่น เพราะมักจะนิยมในเวลาสั้นๆ เท่านั้น พอรุ่นใหม่ออกก็ต้องซื้อใหม่ทั้งที่ตัวเก่า ยังดีอยู่ แต่เห็นว่าไม่ทันสมัยแล้ว จึงควรเลือกซื้อเสื้อผ้าแบบเรียบๆ ที่สามารถใช้ได้หลายโอกาสจะดีกว่า
15. เวลาเลือกเสื้อผ้าใหม่ ควรเลือกให้เข้ากันได้กับเสื้อผ้าที่มีอยู่เดิม และสามารถ ดัดแปลงรูปแบบการใส่ได้มากขึ้น เช่นกางเกงยีน กระโปรงสีพื้น เสื้อยืดเรียบๆ เป็นต้น
16. ศูนย์แสดงสินค้าราคาถูกของโรงงาน เป็นแหล่งที่เหมาะแก่การเลือกซื้อ เพราะมีคุณภาพพอควร แต่ราคาไม่แพงเท่าห้างใหญ่ๆ หรืออาจเลือกซื้อจากร้านของของมือสอง ซึ่งก็จะยิ่งถูกลงไปอีก
17. เสื้อผ้าบางตัวยังดีอยู่ หากมีการชำรุด ไม่ควรทิ้ง ควรซ่อม และหากว่าเรียนรู้วิธีเย็บเสื้อผ้า ไว้ได้ก็จะเป็นการดี เพื่อการซ่อมแซมเสื้อผ้าของทุกคนในบ้าน ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดทั่วไป
18. ไม่ซื้อประกันโดยไม่จำเป็น เช่น การซื้อประกันชีวิตให้ลูกเล็กๆ ถ้ามีเงินสำรองฉุ กเฉิ นเยอะพอ อาจใช้วิธีการฝากเงินออมแทน การพิจารณาลดค่าเ บี้ ยปร ะกั น รวมถึงการ ลดปร ะกั นสำหรับรถที่ไม่ชนเลย
19. ล้างรถ และเปลี่ยนน้ำมั นเครื่ อ งด้วยตัวเอง ถ้ามีเวลาว่างให้ศึกษาวิธีซ่อมบำรุงรถยนต์ รวมถึงหลีกเลี่ยง รายจ่ายที่ไม่จำเป็นของรถยนต์ ด้วยการซ่อมบำรุงรถตามโปรแกรมอยู่เสมอ
20. ถ้าจะเดินทางด้วยเครื่องบิน สามารถตีตั๋วราคาถูกที่สุดได้ด้วยการวางแผนล่วงหน้านานๆ สายการบิน ส่วนใหญ่มีโปรโมชันให้เลือก แต่มีข้อแม้ว่าควรรู้วันและเวลาที่ต้องเดินทางที่แน่ชัด ด้วยนะคะ เพราะการเปลี่ยนแปลงตั๋วอาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากเพราะเราทุกคนรู้ดีว่า เรื่องเงินทองนั้น เป็นเรื่องที่สำคัญและจำเป็นอย่างมากนะคะ ดังนั้นแล้วเงินที่หามาได้ก็ควรที่จะใช้อย่าง ประหยัด เพื่อจะได้มีเงินพอสำหรับจ่ายภาระค่าใช้จ่ายทุกอย่างที่จำเป็น ที่สำคัญ ก็ควรจะมีเงินเก็บ สักก้อนเตรียมไว้บ้างเผื่อคราวจำเป็น จะได้ไม่ขัดสนเดือดร้อน และใช้ชีวิตอย่างมี ความสุขได้ในทุกๆ วันค่ะ
ขอบคุณที่มา : r e v i e w p r o m o t e
20 วิธี ลดค่าใช้จ่ายในบ้าน จะทำให้มีเงินเก็บเพิ่มมากขึ้น
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
มกราคม 08, 2566
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: