ถ้าวันหนึ่งเราแก่ตัวไป ใครเล่าจะมาเลี้ยงดู (อ่ า นแล้วจะเข้าใจ)
ต้องเข้าใจก่อนว่า ในสมัยก่อนนั้นมีแนวคิดที่ว่า มีลูกเพื่อหวังจะให้พวกเขาเลี้ยงดูในย ามอายุมากขึ้น
ในวัยที่ร่างกายเริ่มโรยราดูแลตัวเองไม่ไหวแล้ว ซึ่งก็มักจะเป็นแบบนั้นจริงๆ
แต่ว่าหากจะมองในความเป็นจริงแล้ว มันยังจะใช้ความคิดแบบนี้ได้อยู่ไหม
“ มีลูกไว้… ตอนแก่จะได้มีคนเลี้ยงดู ”
ซึ่งมันจะแปลได้อีกทางว่า หากลูกไม่ยอมเลี้ยงดูคืออกตัญญูอย่ างนั้นหรือ แบบนี้เป็นแนวคิดที่เห็นแก่ตัวของพ่อแม่ไปหรือเปล่า
ในปัจจุบันนี้ก็มีคนวัยชราหลายคนมากที่เข้ากับครอบครัวของลูก ๆ ไม่ได้ บางทีความคิดแบบเดิมมันอาจจะต้องปรับแล้วก็ได้
ทำไมไม่คิดว่าอย ากจะให้ลูกเลี้ยงดูในตอนแก่เป็นการ จะเอาสมัยก่อนกับปัจจุบันมาเที่ยวกันมันไม่ได้
ที่พ่อแม่มีลูกตั้งหลายคนยังเลี้ยงได้ ทำไมลูกเลี้ยงพ่อแม่บ้างไม่ได้ ซึ่งมันก็อาจจะน่าคิด
แต่ลองมองถึงค่าครองชีพและการใช้ชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันสิมันเหมือนสมัยก่อนงั้นหรือ
เรามีเรื่องราวน่าอ่ า นและอย ากให้ทุกคนทำความเข้าใจตาม ทั้งในมุมของคนเป็นพ่อแม่
และในมุมของความเป็นลูก เรื่องราวมีดังนี้มีคุณแม่คนหนึ่ง สามีจากไปนานแล้ว เธอสอนหนังสือหาเงินเลี้ยงลูกชายจนโต
เขาเป็นคนเชื่อฟังตั้งแต่ตอนเล็ก พอลูกโต เธอก็ส่งลูกไปเรียนต่างประเทศ
พอลูกเรียนจบก็อยู่ทำงานต่อที่ต่างประเทศ ทำงาน หาเงิน ซื้อบ้าน แต่งงาน มีลูกหนึ่งคน สร้างครอบครัวที่แสนสุข
ตัวเธอเองคิดถึงประโยคที่ว่ามีลูกจะได้มีคนเลี้ยงตอนแก่ คิดถึงสายตาอิจฉาของญาติๆและเพื่อนฝูง
เธอมีความสุขจากใจ ระหว่างรอจดหมายตอบจากลูกชาย เธอก็จัดการเรื่องบ้านและงานจนเรียบร้อย
คืนสุดท้ายก่อนเธอจะเกษียณ เธอก็ได้รับจดหมายที่ส่งมาจากต่างประเทศของลูกชาย
พอเปิดออกดูข้างในก็เป็นเช็คต่างประเทศ ตีเป็นเงินไทยได้มูลค่าประมาณ 1 แสนบาท เธอรู้สึกแปลกใจมาก
เพราะลูกชายไม่เคยส่งเงินให้เธอมาก่อน เธอรีบเปิดจดหมายออกอ่ า น ในจดหมายเขียนว่า
“แม่ครับ พวกเราได้คุยกันแล้ว ตัดสินใจ และสรุปว่า พวกเราไม่ยินดีให้แม่มาอยู่ด้วยกันที่นี่
ถ้าแม่คิดว่าแม่มีบุญคุณที่เลี้ยงดูผมมา คำนวณตามราคาตลาด
ก็ประมาณเงินที่ผมส่งให้นี้ หวังว่าต่อไปนี้แม่จะไม่เขียนจดหมายมาอีก”
แม่อ่ า นจดหมายฉบับนั้นจบก็น้ำตาไหลพราก รู้สึกว่าตัวเองลำบากเลี้ยงลูกคนเดียวมาตลอดชีวิต
จากนี้ไปต้องอยู่อย่ างโดดเดี่ยว เธอรู้สึกแย่มาก จากแต่ก่อนที่ฝากความหวังทั้งหมดไว้กับลูก
แต่มาตอนนี้กลับไมาเหลืออะไรอีกแล้ว ต่อมาเธอก็ศึกษาพระพุทธศาสนา หลังศึกษา
เธอก็คิดได้ เธอใช้เงินที่ลูกได้มอบให้มาเอาไปเดินทางเที่ยวรอบโลก ได้เรียนรู้โลกกว้าง ได้เห็นสิ่งใหม่ๆมากมาย
หลังจากนั้นเธอจึงเขียนจดหมายหนึ่งฉบับถึงลูกชาย ในจดหมายว่าลูกรัก
ลูกไม่อย ากให้แม่เขียนจดหมายมาอีก ก็ถือซะว่าจดหมายฉบับนี้เป็นข้อความเพิ่มเติมจากฉบับที่แล้วละกัน แม่ได้รับเช็คแล้ว
และใช้เงินจำนวนนั้นไปเดินทางรอบโลก ระหว่างเดินทางท่องเที่ยว อยู่ๆแม่ก็รู้สึกว่า แม่ควรขอบใจลูก
ขอบใจที่ทำให้แม่เห็นอะไรทะลุปรุโปร่ง ปล่อยวาง ทำให้แม่ได้เห็นว่าความสัมพันธ์ในครอบครัว
เพื่อน และคนรักไม่มีรากหยั่งลึก เปลี่ยนแปลงได้เสมอ
ถ้าวันนี้แม่ยังคิดไม่ตก ยังยึดติด ยังทุกข์อยู่ แม่คงสิ้นลมหายใจไปภายในปีครึ่งปี การปฏิเสธของลูก
ทำให้แม่ได้เห็นว่าคนเรามีวาสนาก็ได้เจอ หมดวาสนาก็จากกัน ทุกอย่ างไม่เที่ยงแท้
ทำให้แม่เรียนรู้ที่จะสงบและใจเย็น มองทุกอย่ างในเชิงบวก แม่ไม่มีลูกแล้ว
ไม่มีอะไรให้เป็นห่วง เพราะงั้นแม่ถึงสามารถอยู่ได้โดยไม่มีมัน “
“พ่อแม่ที่น่าสงสาร” คนเป็นพ่อแม่อย ากมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้ลูก แต่สุดท้ายแล้วสิ่งที่ได้รับกลับไม่ใช่สิ่งที่ดีที่สุดมีคนกล่าวไว้ว่า
บ้านของพ่อแม่คือบ้านของลูกตลอดเวลา บ้านของลูกไม่เคยเป็นบ้านของพ่อแม่
การให้กำเนิดลูกเป็นงานที่ต้องทำ การเลี้ยงดูลูกเป็นภาระหน้าที่ การพึ่งพาลูกเป็นความเข้าใจผิด
ช่างเป็นเรื่องราวที่ไม่น่าฟัง แต่ก็ไม่ฟังก็ไม่ได้ แม้ว่าไม่ใช่ลูกทุกคนจะเป็นแบบนี้
แต่คนเป็นพ่อแม่ไม่ควรคิดว่าแก่แล้วจะพึ่งพาลูก พูดกันตามตรง อย่ าคาดหวังอะไรจากลูกๆ แม้คุณจะเลี้ยงดูเขามาอย่ างดีแล้ว
ก็ตาม ต้องฝึกดูแลตัวเอง ลูกกตัญญูต่อคุณถือเป็นบุญ ถ้าลูกกตัญญูไม่พอ
พ่อแม่ก็บังคับไม่ได้ วิธีที่ดีที่สุดคือ วางแผนชีวิตพึ่งพาตัวเองตอนแก่ไว้
จากมุมมองของสังคม การมีลูกจะได้มีคนเลี้ยงตอนแก่เป็นความปรารถนาในใจ แต่ในยุคปัจจุบัน เศรษฐกิจ
สังคม วัตถุนิยม วิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป สถานการณ์ในปัจจุบันคือ คนยุคใหม่เปลี่ยนไป
คนอายุมากยังยึดติด การที่คนอายุมากยึดแนวความคิดว่ามีลูกจะได้มีคนเลี้ยงตอนแก่ไม่เหมาะสมกับอีกต่อไป
สิ่งที่ตามมาคือ ความผิดหวังบนความคาดหวังที่ไม่สามารถคาดเดาได้
พ่อ แม่ ทวงบุญคุณกับลูกได้แต่มันไม่ใช่ลูกทุกคนที่มีศักยภาพพอที่จะดูแลพ่อแม่ได้ เพราะเพียงแค่ชีวิตและครอบครัวของเรามันก็
ต้องดูแลเช่นกัน การวางแผนดูแลตัวเองตอนแก่จึงเป็นสิ่งที่คนเป็นพ่อ แม่คนควรวางแผนและอย่ าฝากความหวังทั้งหมดมาทิ้งไว้ที่
ลูกได้แล้ว มันไม่ใช่ความผิดของลูกที่ดูแลคุณไม่ได้ แต่มันผิดที่คุณที่ไม่ยอมดูแลตัวเองต่างหาก ฝากไว้ให้คิดกันนะ
ที่มา : bitcoretech
ถ้าวันหนึ่งเราแก่ตัวไป ใครเล่าจะมาเลี้ยงดู (อ่ า นแล้วจะเข้าใจ)
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
กรกฎาคม 13, 2563
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: