บทสวดเพื่ออโหสิกรรม รู้จักให้อภัย ชีวิตและจิตใจเป็นสุข
คนเราเกิดมาก็ต้องประสบพบเจอกับกองทุ กข์มากมายมหาศาล ธรรมะ คำสอนของพ ระพุ ทธองค์ จึงสอนให้ทุ กชีวิตเข้าใจและ อยู่ร่วมกับทุ กข์
เมื่อละวางใจได้ก็จะทุ กข์น้อยจนรู้สึกๆเฉยๆ กับทั้งทุ กข์และสุขที่ผ่านเข้ามา พ ระนักปฏิบัติ ครูบาท่านทั้งหลาย ท่านเห็นถึงเหตุและผลตรงนี้ จึงอย ากตั ดจากกองทุ กข์ทั้งมวล ต้นเหตุแห่งทุ กข์คือ การตั ดไ ฟแต่ต้น นั่นคือ ไม่ต้องเกิดก็ไม่ทุ กข์อีก
โ กรธ โ ม โ ห อา ฆ าต มาดร้ ายใคร ก็อโหสิก รรมเขา ใครทำให้เจ็ บ ซ้ำ น้ำใจ เบียด เบียนชีวิตเราและคนที่เรารัก ก็ไม่คิดแก้แ ค้น เอาคืนความโ กรธ ไม่ใช่ โ ง่หรอก เพียงแต่ท่านทั้งหลายเหล่านั้น ไม่เห็นประโยชน์อันใดที่จะตามแก้แ ค้นเอาคืน เพื่อให้ได้ความสะ ใจเพียง ชั่ วครู่ แต่ต้องเวียนว่ายในวัฏจักรนั้นย าวนาน เกิดใหม่ก็ต้องเจอคนเหล่านั้นซ้ำๆ ไม่เขาชดใช้เรา เราก็ต้องชดใช้เขา
เวลาที่เราทุ กข์ ท่านทั้งหลายยังไม่เรียนรู้บทเรียนนั้นอีกหรือว่ามันทุ กข์ทรมาน เจ็ บป วดเพียงใด ยังอย ากเจอ อย ากเจ็ บ อย าก ทุ ร น ทุ ร าย ซ้ำๆ วนเวียนไม่จบสิ้ นอีกทำไม คนเราเกิดมาเพื่อชดใช้ก รรมที่ทำ ทุ กเหตุในชีวิตไม่มีความบังเอิญ มีแต่ถูกกำหนดด้วยผลของก รรมที่เกิดจากการกระทำของเราทั้งนั้น
เมื่อบุญมาก บุญก็จะช่วยนำพาเราให้ห่างความทุ กข์ แต่เมื่อความทุ กข์ไล่หลังมาทัน เราต่างก็ต้องชดใช้ทุ กคน วางลงเถอะหนาใจที่ยึดมั่นถือมั่น ไม่ยอมปล่อยไม่ยอมวาง จะแบกให้หนักถือให้เหนื่อยอยู่ทำไม หนทางหลุดพ้น คือ ธรรมะ คำสอนของพร ะพุ ทธองค์อยู่ตรงหน้าแล้ว ถามตัวเองเถิดอย ากหลุดพ้นจากกองทุ กข์ที่เราขุ ด ฝั ง ตัวเองไหม
ด้านดีของการอโหสิ ก ร ร มตามหลักพระพุทธศาสนา เชื่อว่า
1 ก ร ร ม เบาบาง อยู่ร่วมกันอย่ างราบรื่น สำเร็จในชีวิตนี้ และส่งผลชีวิตหน้า
บุคคลที่ทำ ก ร ร ม ดีหรือ ก ร ร ม ชั่ ว โดยมีเจตนาในการทำ ก ร ร ม นั้น จะต้องได้รับผล ก ร ร ม ตามสมควรแก่การกระทำของตน คนที่ทำ ร้ า ย ผู้อื่นคนที่คดโกงหรือฉ้อราษฎร์บังหลวงก็จะได้รับผล ก ร ร ม นั้น หรือแม้ไม่ได้รับ ก ร ร ม ในชาตินี้ ก ร ร ม ก็จะติดตามไปส่งผลในชาติหน้า
แต่ ก ร ร ม ที่ทำไว้นั้นถ้าเป็น ก ร ร ม เบาอาจจะไม่ส่งผลก็ได้ หากทำให้ ก ร ร ม นั้นเป็นอโหสิ ก ร ร ม นั่นคือ ในฐานะที่ชาวพุทธ เมื่อได้ประพฤติล่วงเกินผู้อื่น ก็ควรขอให้ผู้นั้นยกโทษให้ และในทำนองเดียวกันหากมีผู้มาขออโหสิ ก ร ร ม จากเรา ก็ควรยกโทษให้ ไม่อาฆาต พ ย า บาท จอง เ ว ร กัน เมื่อปฏิบัติได้เช่นนี้ก็จะก่อให้เกิดความรักใคร่กัน และอยู่ร่วมกันได้อย่ างสงบสุข
2 อานิสงส์สูง เพราะละการยึดมั่นถือมั่นในตัวตน ยกระดับก้าวสู่มรรคผลนิพพาน
อโหสิ ก ร ร ม หรืออภัยทาน-สามารถทำได้จากความเมตตาที่มีอยู่เพียงพอในจิตใจ จึงมีอานิสงส์ใกล้เคียงกับธรรมทาน ที่ถือว่ามีอานิสงส์สูง เพราะเป็นการให้ปัญญา-แสงสว่างเพื่อพัฒนาจิตใจของผู้อื่นให้ก้าวหน้าไปสู่มรรค-ผล-นิพพานในที่สุดต่อไปตามวาสนาบารมีแห่งตน
ที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นการตัดอัตตา-ตัวตน การยึดมั่นถือมั่นในตัวตน ซึ่งถือว่าเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความทุกข์กับคนทุกคน ถ้าเรายกโทษ ไม่เอาโทษให้ผู้อื่นได้ เท่ากับเราได้สละตัวตนเราออกไปแล้ว เป็นการเสียสละอันยิ่งใหญ่ ซึ่งจะช่วยให้เราและผู้อื่นที่เรายกโทษให้เขา ได้ก้าวขึ้นไปสู่อริยมรรค-อริยผล-และพระนิพพานในอนาคตได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น
วิธีการขออโหสิ ก ร ร ม
1 ด้วยการอโหสิร่วมกัน ต่างฝ่ายต่างเอ่ยให้อีกฝ่ายรับรู้ด้วยใจ ยิ่งทั้งสองฝ่าย มีความหนักแน่น จิตใจคิดอโหสิอย่ างบริสุทธิ์ใจเท่าไหร่ ก็ยิ่งขาดจาก เ ว ร ได้เด็ดขาดเท่านั้น มักไม่ใช่จู่ ๆ เดินเข้ามาออกปากอภัยกันดื้อ ๆ ส่วนใหญ่ต้องร่วมสถานการณ์ เ ล ว ร้ า ย กันมาระยะหนึ่ง แล้วมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งสำนึกได้ จึงชักชวนกันทำดีแก่กัน
เช่นพูดจาญาติดีกัน มีใจเห็นภัยของพ ย า บาทร่วมกัน แล้วจึงปลงใจคิดอโหสิแก่กัน และต่อมาไม่มี เ ว ร ทางกาย วาจา ใจร่วมกันอีกตลอดชีวิต เชื่อว่า หากทำได้ระยะ ย า ว นั่นคือ กำลังของ เ ว ร จากอดีตชาติพ่ายแพ้ต่อกำลังอโหสิในชาติปัจจุบัน ถ้าเจอกันใหม่ ก็คงเจอด้วยความรู้สึกด้านดี
๒ ด้วยการอาศัยสัจจวาจาในการทำบุญร่วมกัน คือ เมื่อทำบุญใหญ่ร่วมกันแล้วอ้างบุญใหญ่ที่ทำร่วมกันว่า ทำด้วยใจมีไมตรีต่อกัน ขอให้อานิสงส์ จงช่วยล้าง เ ว ร ภัยระหว่างกัน หากกำลังบุญนั้นถึงพร้อม เช่น ถวายสังฆทานกับพระอริยสงฆ์ ก็จะทำให้เกิดความอบอุ่น เบิกบานใจร่วมกัน โดยผ่านพ้นแรงอาฆาตเก่า ๆ ได้ จะรู้สึกกันเดี๋ยวนั้นว่า หมดภัยหมด เ ว ร ต่อกันแล้ว
๓ ด้วยขอโทษ และมีการยกโทษให้จากใจจริง เมื่อเกิดการประพฤติล่วงเกินผู้อื่นด้วยกาย วาจา หรือใจ แล้วไปขอให้ผู้ที่เราประพฤติล่วงเกินยกโทษให้ เมื่อท่านยกโทษให้แล้วก็ถือว่า ก ร ร ม นั้นเป็นอโหสิ ก ร ร ม ไม่ให้ผลอีกต่อไปทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
ความจริงใจในการอโหสิ ก ร ร ม
ความสำคัญของความสมัครใจ ความจริงใจที่จะอโหสิ ก ร ร ม ให้กันนั้น อยู่ที่ความคิดขออภัย ให้อภัย ไม่จอง เ ว ร ซึ่งกันและกัน ซึ่งพึงระวัง เนื่องจากว่า โดยมากนั้น มักจะเป็นการขออโหสิแบบมีมานะ หรือเจือด้วยโทสะแฝงในใจลึก ๆ บางท่านเจตนาขออภัย ขออโหสิจริง ๆ แต่แล้วในวันหนึ่ง เกิดคิดเล็กคิดน้อยขึ้นมาอีกแบบอดไม่ได้ตามประสาปุถุชน จึงมีผลให้การอโหสิ ก ร ร ม นั้นให้ผลไม่เต็มที่
สามารถขออโหสิ ก ร ร ม จากได้จากทุกคนถ้าขออโหสิ ก ร ร ม แล้วเค้าไม่อโหสิให้ จะทำอย่ างไร ถ้าเราเป็นฝ่ายยกโทษให้หมดอย่ างไม่มีเงื่อนไข ให้อภัยจากใจบริสุทธิ์แล้ว หากเขายังมีจิตพ ย า บาท คิดอาฆาตต่อก็จะเหมือนกับเขาจอง เ ว ร กับความว่างเปล่า เพราะขั้วที่จะทำให้วงจรจอง เ ว ร ขาดไป
ยกตัวอย่ างจากชาดก
มีชาติหนึ่ง ที่พระโพธิสัตว์ถูกพระเทวทัตในอดีตจับไปขึงพืด พาพรรคพวกข่มขืนภรร ย า ต่อหน้า แล้วตัดแขนตัดขาท่านทีละชิ้น ท่านไม่มีใจคิด ร้ า ย ตอบเลย แผ่เมตตาให้พวกคน ร้ า ย กระทั่งขาดใจ
จิตมีกำลังเมตตาถึงฌาน ก็ไปเกิดเป็นพรหม เรียกว่าใช้คู่ เ ว ร เป็นบันไดสวรรค์ของตนได้
แต่ต่อมาพระเทวทัตก็ยังจอง เ ว ร ไม่เลิก แต่แม้เริ่มจอง เ ว ร กัน พระเทวทัตก็เป็นฝ่ายเริ่มฝ่ายเดียวเท่านั้นด้วย ท่านถึงว่าอยู่ในสังสารวัฏแล้วจะหลีกเลี่ยงสิ่งไม่น่าพึงใจนั้น ไม่มีทางเลย
ถ้าเราอโหสิ ก ร ร ม ให้เขา โดยที่เขาไม่ทราบ จะสามารถหยุดการผูก เ ว ร ต่อกันได้ไหม
ไม่สามารถหยุดผูก เ ว ร ก ร ร ม ต่อกันได้ และต่อให้เขาทราบ แต่ถ้าใจไม่ยินดีไปด้วย เ ว ร ก็ไม่อาจระงับอยู่ดี ดังกรณีพระพุทธเจ้าและพระเทวทัตที่กล่าวข้างต้น แต่แง่ดีของการอโหสิให้เขานั้น คือใจคุณเองจะต่างไป ไม่ผูกพันอยู่กับเขาเพื่อความ สู ญ เปล่าอีก
ภพภูมิที่เหมาะกับผู้ให้อภัย คือภูมิของสั ต บุรุษ ส่วนภูมิที่เหมาะกับผู้ไม่สำนึกผิด คือภูมิของอ สั ต บุรุษ ฉะนั้นโอกาสที่สั ต บุรุษกับอ สั ตบุรุษจะโคจรมาพบกันก็ ย า กขึ้น โอกาสได้รับความเ ดื อ ด ร้ อ นจากเขาก็น้อยลง เ ว ร นั้น แม้ไม่สิ้นก็ทำให้เบาบางลงได้ เมื่อให้อภัยเขาอย่ างไร้เงื่อนไขได้ชาติหนึ่ง ชาติต่อ ๆ ไปก็จะทำได้อีก และมีแนวโน้มที่จะง่ายขึ้นเรื่อย ๆ และห่างชั้นจากเขาไปเรื่อย ๆ
บทอธิษฐานขออโหสิ ก ร ร ม และ การอธิษฐานจิต
เชื่อว่า มาจากสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี จุดประสงค์การสวด เพื่อให้จิตใจมีสติ มีสมาธิตั้งมั่น สบายใจขึ้น และมีกำลังใจเข้มแข็ง นำมาซึ่งปัญญาในการแก้ไขปัญหาอุปสรรค ที่ค้างคาใจ ขอแนะนำให้สวด และขอขมาลาโทษกับเจ้า ก ร ร ม นาย เ ว ร คนที่สัญญากับคน ๆ นั้นไว้ จะได้หลุดจากบ่วงพรรณการณ์ที่ค้างคา และเดินหน้าต่อไปอย่ างราบรื่น มั่นคงและมั่นใจ
บทอธิษฐานขออโหสิ ก ร ร ม บทแรก
กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัญจิจจะกัมมัง อะสัญจิจะกัมมัง ขะมันตุ เม อะโหสิกัมมัง ภะวะตุ เม ก ร ร ม ใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นกาย ก ร ร ม วจี ก ร ร ม มโน ก ร ร ม ที่ข้าพเจ้าได้ทำล่วงเกินแก่ผู้ใด ทั้งโดยตั้งใจก็ดี ไม่ได้ตั้งใจก็ดี ในภพชาติใดก็ตาม ขอให้เจ้า ก ร ร ม นาย เ ว ร ทั้งหลาย จงโปรดยกโทษให้เป็นอโหสิ ก ร ร ม แก่ข้าพเจ้า อย่ าได้จอง เ ว ร จอง ก ร ร ม ต่อกันอีกเลย
แม้แต่ ก ร ร ม ใดที่ใคร ๆ ทำแก่ข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิ ก ร ร ม ให้ทั้งสิ้น ยกถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทาน ขอจงดลใจให้เขาเหล่านั้นกลับมีเมตตาจิต คิดเป็นมิตรกับข้าพเจ้า เพื่อจะได้ไม่มี เ ว ร ก ร ร ม ต่อกันตลอดไป
ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้าพร้อมทั้ง ครอบครัว ตลอดจนวงศาคณาญาติ ผู้มีอุปการคุณของข้าพเจ้า พ้นจากความทุกข์ ย า กลำบากเข็ญใจความทุกข์อย่ าได้ใกล้ ความเจ็บไข้อย่ าได้มี ขอได้มีความสุขสวัสดีมีชัย
เ ส นี ย ด จั ญ ไ ร และอุปัทวัน ต ร า ย ทั้งหลาย จงเสื่ อ มสิ้นหายไป นึกคิดปรารถนาสิ่งใดที่เป็นไปโดยชอบประกอบด้วยธรรมแล้ว ขอให้สิ่งนั้นจงพลันสำเร็จ ลงพลันสำเร็จ จงพลันสำเร็จเทอญ
คำอธิษฐานอโหสิ ก ร ร ม บทสอง
ข้าพเจ้า…..บอกชื่อ… ขออโหสิ ก ร ร ม ก ร ร ม ใดที่ทำแก่ผู้ใด ในชาติใด ๆ ก็ตาม ขอให้เจ้า ก ร ร ม และนาย เ ว ร จงอโหสิ ก ร ร ม ให้กับข้าพเจ้า อย่ าได้จอง เ ว ร จอง ก ร ร ม ต่อไปเลย แม้แต่ ก ร ร ม ที่ใคร ๆ ได้ทำกับข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิ ก ร ร ม ให้ทั้งสิ้น และขอยกถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทาน เพื่อจะได้ไม่มี เ ว ร ก ร ร ม ต่อไป
ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้าและครอบครัว บุตรหลาน ตลอดจนวงศาคณาญาติ และผู้มีอุปการคุณของข้าพเจ้า จงมีความสุข ความเจริญ ปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี และสิ่งที่ชอบด้วยเทอญ.
คำขอขมาโทษ ก ร ร ม ชั่ ว
ก ร ร ม ชั่ ว อันใดที่ข้าพเจ้า…..บอกชื่อ… ทำไว้ ด้วยกาย วาจา ใจ ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ เพราะความไม่รู้ เพราะความหลง เพราะความงมงาย เพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขอจงโปรดยกโทษ ให้ข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ ย า ก ลำบากเข็ญใจ อั น ต ร า ย ทั้งหลาย จงเ สื่ อ ม สู ญ สิ้นไป ข้าพเจ้าปรารถนาสิ่งใดที่ดี ขอให้สมปรารถนา
นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ. อธิษฐานตามที่ปรารถนา
คำขอขมาและอธิษฐานจิต
สำหรับอธิษฐานหน้าพระพุทธรูป หรือสวดก่อนนอน
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ๓ จบ
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต
หากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้า ก ร ร ม นาย เ ว ร จะด้วยกาย วาจา ใจ
ขอได้โปรดอโหสิ ก ร ร ม แก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีต ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร
ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆโร คภัยใดๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญ
ข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง หากข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี หากมีผู้ใดเคยสร้าง
เ ว ร สร้าง ก ร ร ม กับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิ ก ร ร ม ให้ ขอถอนความอาฆาต ความพ ย า บาท และ คำ ส า ปแ ช่ งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำส า ป แ ช่ งของปวงชนของเจ้า ก ร ร ม ขอให้พ้นจากน ร กภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม
ขอบคุณแหล่งที่มา dekwat999, trueplookpanya
บทสวดเพื่ออโหสิกรรม รู้จักให้อภัย ชีวิตและจิตใจเป็นสุข
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
กรกฎาคม 17, 2563
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: