น้ำซาวข้าวมีค่าอย่าทิ้ง นำมาทำน้ำหมักบำรุงพืช ประหยัดเงิน ออกผลดกเต็มต้น




น้ำซาวข้าวมีค่าอย่าทิ้ง นำมาทำน้ำหมักบำรุงพืช ประหยัดเงิน ออกผลดกเต็มต้น

สูตຣนี้มีวิธีการทำที่แสนง่าย แต่นำไปบำรุงพืชได้ผลดีนัก เนื่องจากในน้ำซาวข้าวจะอุดมไปด้วยวิ ต า มิน บีรวมและสารอาหารหลากชนิด สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับพืช ตามความเหมาะสม ทั้งยังไม่มีอัน ต ร า ย ต่อพืชปลูกเหมือนปุ๋ຢเคมีอีกด้วย

สูตຣที่ 1 นำมาจากเพจคนทำงานเกษตรนะคะ

ส่วนผสม

1 น้ำซาวข้าว 6 ลิตร

2 สับปะรดนิดหน่อยทำเป็นชิ้นเล็กๆ

3 ผงชูรส 1 ช้อนโต๊ะ

วิธีทำ

นำซาวข้าวประมาณ 6 ลิตร ผสมสับปะรดนิดหน่อยประมาณ 2 – 3 ชิ้นเล็กๆ ขยี้ให้ละเอียด

จากนั้น ผสมผงชูรส 1 ช้อนโต๊ะ และผสมให้เข้ากัน




วิธีใช้

นำไปรด หรือพ่น ด อ ก ต้นผัก ผลไม้ที่ ท า น ผล เช่น พริก มะนาว มะเขือ มะเขือพวง มะม่วง ช่วยให้ ด อ ก ดกมาก ติดผลดก ใช้เพียงอาทิตย์ละครั้งอย่างน้อย ในช่วง อ อ ก ด อ ก

สูตຣที่ 2 นำมาจากเพจสวนผักคนเมืองนะคะ (น้ำหมักซาวข้าวแบบเซรั่มแบคทีเรียกรดแลคติก)

ส่วนผสม

1 น้ำซาวข้าวหมัก 3 วัน

2 นมสดจืดแบบธรรมดา (สามารถใช้นมที่เพิ่งหมดอายุวันสองวันได้) นมบูดก็สามารถนำมาใช้ได้ แต่กลิ่นน้ำหมักที่ได้จะเหม็นเน่ามาก


วิธีทำ

เทน้ำซาวข้าวและนมสดรวมกันในขวด ในอัตราส่วนได้ตั้งแต่ 10:1 จนถึง 1:1

ปิดฝา เขย่าขวดให้ทั้งสองส่วนผสมรวมกัน แล้วตั้งทิ้งไว้

รอจนน้ำหมักแยกชั้นเป็น 3 ชั้น จึงนำมาใช้ได้ (โดยชั้นก้นขวดจะเป็นลิ่มนม ตรงกลางจะเป็นน้ำหางนมใสๆ และชั้นบนสุดจะเป็นตะกอนชีส)กลิ่นน้ำหมักที่ได้จะค่อนข้างมีกลิ่นบูดนิดๆ

ถ้าเก็บไว้นาน น้ำหางนมจะกลายเป็นสีเหลือง และกลิ่นก็จะบูดเน่าขึ้นเรื่อยๆ

วิธีใช้

เมื่อแยกชั้นแล้วก็สามารถนำมาใช้ได้เลย (ยิ่งอัตราส่วนนมสดมาก ก็จะยิ่งแยกชั้นช้า)

กรองเอากากออก นำไปผสมน้ำในอัตราส่วน 1:500-1000 (น้ำหมัก 1 ช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำ 5-10 ลิตร)

สามารถใช้รดผักที่แปลงดิน หรือจะฉีดพ่นทางใบก็ได้


ข้อควรระวังนะคะ: หากใช้มากเกินไปจะทำให้ผลใหญ่ อวบน้ำ แต่รสชาติจะหวานน้อย จึงเหมาะใช้รดพืชผลที่ทานรสชาติเปรี้ยว อย่าง มะนาว เป็นต้น


ที่มา...abbaroi.com
น้ำซาวข้าวมีค่าอย่าทิ้ง นำมาทำน้ำหมักบำรุงพืช ประหยัดเงิน ออกผลดกเต็มต้น น้ำซาวข้าวมีค่าอย่าทิ้ง นำมาทำน้ำหมักบำรุงพืช ประหยัดเงิน ออกผลดกเต็มต้น Reviewed by Dusita Srikhamwong on สิงหาคม 21, 2562 Rating: 5


ไม่มีความคิดเห็น:

ขับเคลื่อนโดย Blogger.