ป่าช้าเหงา ใบสดรสขมจัด เคี้ยวและกลืนหวานในปากและคอ ช่วยต้านโรคเก๊าต์ เบาหวาน




ป่าช้าเหงา ใบสดรสขมจัด เคี้ยวและกลืนหวานในปากและคอ ช่วยต้านโรคเก๊าต์ เบาหวาน

ป่าช้าเหงา หรือ หนานเฉาเหว่ย เป็นพืชสมุนไพรที่มีถิ่นกำเนิดจากประเทศจีน  โดยไม่ทราบที่มาเป็นที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้นำเข้ามา  ซึ่งถูกนำมาขยายพันธุ์ในประเทศไทยหลายปีแล้ว

ใบสดของป่าช้าเหงาหรือหนานเฉาเหว่ย มีรสขมจัด แต่เมื่อเคี้ยวและกลืนสักครู่จะมีรสหวานในปากและคอ ซึ่งสมุนไพรชนิดนี้เป็นสมุนไพรที่อยู่คู่ภูมิปัญญาชาวบ้านมาช้านาน เพราะช่วยรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ จนไม่มีใครต้องเสียชีวิต จนเป็นที่มาของชื่อ "ป่าช้าเหงา" นั่น

- ป่าช้าเหงา เป็นไม้ยืนต้น สูง 6-8 เมตร

- ใบป่าช้าเหงา เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรี ปลายแหลม โคนป้านหรือเกือบมน ใบอ่อนและใบแก่มีรสขมจัด

- ดอกป่าช้าเหงา ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด ดอกเป็นสีขาว

- ผลป่าช้าเหงา ทรงกลม มีเมล็ด



สรรพคุณทางยา 

1. ต่อต้านโรคเก๊าต์

2. ต่อต้านโรคเบาหวาน

3. รักษาโรคความดันต่ำ “ไม่เหมาะสำหรับความดันสูง”

4. บำรุงสมรรถภาพทางเพศ

5. รักษาหูด กินใบแล้วประมาณ 1 เดือน หูดจะเป็นสะเก็ดร่อน และเกิดอาการคัน บริเวณที่เป็นหูด เมื่อเกาหูดก็จะหลุดออกมา และอาจขึ้นซ้ำที่เดิมอีก แต่ขนาดจะเล็กลงเรื่อยๆ และก็จะเกิดอาการคันและเกาหลุดออกมาอีก จนในที่สุดหูดก็จะหายไปจนหมดนั่นเอง

6. ป้องกันมะเร็ง ถ้าเป็นมะเร็งก็จะยุบและฝ่อ หายได้ในที่สุด

7. แก้โรคไขมันสูง

8. ลดความอ้วน น้ำหนักลด กล้ามเนื้อกระชับ

9. แก้อาการปวดข้อ และ ปวดเมื่อยตามร่างกาย

10. รักษาริดสีดวง กินใบไม่กี่วันริดสีดวงจะยุบและหายไปในที่สุด

11. รักษาโรคไทรอยด์ต่ำ ไม่เหมาะกับโรคไทรอยด์สูง

12. รักษาโรคใจสั่น เหมาะกับคนหัวใจเต้นช้า ไม่เหมาะกับคนที่หัวใจเต้นเร็ว เพราะใบหนานเฉาเหว่ยทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น

13. ช่วยล้างสารพิษในร่างกาย

14. รักษาเนื้องอก ถ้ากินใบเป็นประจำจะทำให้เนื้องอกยุบและหายไปในที่สุด



ต้องหามาปลูกแล้วสิค่ะแบบนี้ เป็นสมุนไพรที่หลายคนพูดถึงและต้านโรคได้หลายโรคเลยทีเดียวนะคะเป็นสมุนไพร และขอควรที่ระวังห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์และให้นมบุตร ระวังการใช้ร่วมกับยากลุ่ม


ที่มา...โจ ฮักนะสารคาม
ป่าช้าเหงา ใบสดรสขมจัด เคี้ยวและกลืนหวานในปากและคอ ช่วยต้านโรคเก๊าต์ เบาหวาน ป่าช้าเหงา ใบสดรสขมจัด เคี้ยวและกลืนหวานในปากและคอ ช่วยต้านโรคเก๊าต์ เบาหวาน Reviewed by Dusita Srikhamwong on สิงหาคม 27, 2562 Rating: 5


ไม่มีความคิดเห็น:

ขับเคลื่อนโดย Blogger.