6 วิธีฝึก “ให้อภัยคนที่ทำให้ใจเราทุกข์” ถ้าทำได้ถือว่าเราชนะเขาแล้ว
“การให้ที่ยิ่งใหญ่มากที่สุดคือการให้อภัย”
หลายคนเคยได้ยินประโยคนี้ คุณเห็นด้วยไหมคะ? เราว่ามันก็เป็นเรื่องจริงอยู่นะเพราะการให้อภัย
จะส่งผลดีต่อจิตใจเราเองและความสัมพันธ์ต่อคนรอบข้างด้วยแต่ต้องยอมรับกันตรงๆ ว่าการให้อภัย
ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยบางคนอาจใช้เวลาเป็นสิบๆ ปี เพื่อกล้าให้อภัยใครสักคนไม่แปลกหรอกค่ะ
ไม่มีคำว่านานไปหรือเร็วไปสำหรับเรื่องแบบนี้แต่ละคนก็ใช้เวลาเยียวย า หั ว ใ จ ต่างกันไป
เพราะฉะนั้นก่อนเริ่มให้อภัยใครสักคนเราต้องบอกตัวเองเสมอว่า เราจำเป็นต้องก้าวข้ามความโกรธ
เ ก ลี ย ด เ คี ย ด แ ค้ น ในใจให้ได้เสียก่อน แม้ว่าช่วงเวลาเหล่านั้นจะ ย า ก ลำบาก
แค่ไหนก็ตามจงจำไว้ว่าการให้อภัยไม่ใช่เป็นเรื่องแพ้ชนะ แต่เป็นการปลดปล่อยบ่วงที่ติดค้างในใจ
ออกไป เพื่อ สุ ข ภ า พ จิตที่ดีขึ้นในวันข้างหน้าต่างหากสิ่งดีๆ ที่จะเกิดขึ้นหลังการให้อภัยคือ
ทำให้เครียดน้อยลง ลดความกังวล หลักๆ มาจากการที่เราทิ้งอารมณ์ทางลบ เช่น โกรธ, โ ม โ ห,
เจ้าคิดเจ้า แ ค้ น ออกไป ทำให้จิตใจเราทุกข์น้อยลงไปด้วยเผลอๆ จะมีความสุขมากขึ้นด้วยซ้ำค่ะ
หากวันนี้คุณอย ากให้อภัยคนอื่นแต่ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่ างไร ‘ห้องแนะแนว’ มีวิธีคิดและฝึกฝนมาฝาก
กันเบื้องต้นค่ะ ลองนำไปปรับใช้กันดูนะคะ
“ไม่มีใครสมบูรณ์แบบ”
ทุกคนคือมนุษย์และมนุษย์ทุกคนล้วนเคยผิดพลาด แม้แต่เราเองก็ตามไม่ใช่เหรอไม่มีใครไม่เคยทำผิด
อย่ าคาดหวังความเพอร์เฟ็กต์จากคนอื่นเพราะตัวเราเองยังทำไม่ได้ ความ ล้ ม เ ห ล ว ผิดแผน
ไม่ได้ดั่งใจคือสิ่งที่เราต้องเผชิญอยู่บ่อยครั้งในชีวิต เพราะฉะนั้นหากเราจะโกรธใคร เ ก ลี ย ด ใคร
เพียงเพราะเขาทำไม่ถูกใจเราก็คงไม่ยุติธรรมนักเราจึงจำเป็นต้องบอกตัวเองว่าทุกคนมีโอกาสพลาดพลั้ง
กันได้ แต่จะรับผิดชอบต่อความผิดพลั้งนั้นอย่ างไรมากกว่า ตรงนี้ต้องทำความเข้าใจเสียใหม่ถึงจะ
เริ่มต้นให้อภัยคนอื่นๆ ได้ในขั้นตอนต่อไป
“เอาใจเขามาใส่ใจเรา”
ลองคิดในมุมกลับกันดูว่าในสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หากเราเป็นเขาเราจะทำอย่ างไร ลองถามตัวเอง
ดูว่า ‘ทำไม’ เขาถึงเลือกทำแบบนั้น มี ‘เหตุผล’ อะไรที่ตัดสินใจแบบนี้บางทีเราอาจจะทำแบบเดียว
กับที่เขาทำก็ได้นะการคิดกลับกันแบบนี้จะช่วยให้เกิดแง่มุมใหม่ๆ หรือทำให้เราเข้าใจในจุดที่เขายืนอยู่
มากยิ่งขึ้นก็ได้เพราะความเข้าใจผิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากความคิดของเราเพียงฝ่ายเดียวโดยที่ยัง
ไม่ไถ่ถามจากอีกฝ่ายเพราฉะนั้นความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นคือกุญแจสำคัญอย่ างยิ่งในเรื่องการให้อภัย
“การให้อภัยเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล”
บางคน ‘ให้อภัยแต่ไม่ลืม’ ไม่เป็นไรหรอกค่ะ นี่ไม่ใช่เรื่องผิดแต่อย่ างใด การที่เราให้อภัยเขาแปล
ว่าเราไม่คิดโกรธเคืองเขาเรื่องในอดีตแล้วแต่ที่ยังต้องจดจำเพราะเป็นบทเรียนให้ตัวเองในอนาคตว่า
จะต้องไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้ซ้ำซ้อนอีกหรือหากเกิดจะได้รู้ทางหนีทีไล่ ละรับมือได้ดียิ่งขึ้นไม่กลับไป
จ ม ทุกข์ซ้ำเดิม หรือบางคนอาจจะให้อภัยแต่ไม่กลับไปยุ่งเกี่ยวกัน ขอห่างกันไปเลยสบายใจกว่า
ก็ไม่ผิดอีกนั่นแหละวิธีการ รั ก ษ า หั ว ใ จ ของเราไม่เหมือนกันให้อภัยได้แล้ว แต่หวั่นกลัวที่จะคบ
ค้าสมาคมกันต่อไป ก็ย่อมทำได้ อย่ างน้อยที่สุดโฟกัสที่การให้อภัยซึ่งกันและกันก็เพียงพอแล้ว
ทางที่เหลือข้างหน้าก็แล้วแต่โชคชะ ต า จะกำหนดใครสะดวกแบบไหนก็ให้อภัยแบบนั้นค่ะ
“ทิ้งอดีต มองอนาคต”
การให้อภัยเปรียบเสมือนการทิ้งสิ่งที่ไม่จำเป็นออกจากชีวิต เหมือนเราดึงโซ่ตรวนที่คล้องขาเราไว้ออก
ทำให้เราเดินสะดวกยิ่งขึ้น ทำให้เราไม่ เ จ็ บ อีกต่อไปนั่นแหละค่ะ หั ว ใ จ ของการให้อภัยที่แท้จริง
คือการละทิ้งอดีตที่เคยทำให้เราทุกข์จะทำให้ใจเราเองสงบขึ้น ไม่ยึดติดเรื่องเก่าๆ พร้อมที่จะก้าวไป
ข้างหน้าด้วยความโล่งอกและสงบ
“หัดมองด้านดีๆ ของคนอื่นบ้าง”
คล้ายๆ กับการเอาใจเขามาใส่ใจเราแต่โฟกัสไปที่เรื่องบวกๆ ของผู้อื่นแทนเพื่อฝึกให้เรามองรอบด้าน
และใจกันมากขึ้นในมุมร้ า ยๆ ที่เราเจออาจไม่ใช่ตัวตนเดียวของเขาในสถานการณ์อื่นเขาอาจจะมีด้านบวก
ให้เห็นเพียงแค่เราต้องเปิดใจที่จะมองและยอมรับนั่นจะทำให้เราเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันเพิ่มขึ้น
“หากไม่กล้า ก็ปรึกษาคนรอบข้าง”
หากคุณ พ ย า ย า ม จะให้อภัยใครสักคนแต่ยังไม่สนิทใจ ลองพูดคุยกับคนที่ไว้ใจรอบตัวดูก่อน
เผื่อจะได้ความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากที่เรามองการติดอยู่ในความรู้สึกลบอาจทำให้เรามองข้ามเรื่อง
บางเรื่องไปโดยไม่ตั้งใจบางครั้ง ‘ก า ว ใจ’ จากคนอื่นก็เป็นเรื่องที่จำเป็นเช่นกันนะคะ การให้อภัย
ไม่ใช่แค่พูดออกไปแต่อภัยที่แท้จริงคือมาจากหัวใจที่ปล่อยวางชำระล้างจิตใจให้ไม่ผูกติดกับ อ า ร ม ณ์ขุ่นมัว
ปลดตัวเองจากความ เ จ็ บ ป ว ด แม้ว่าคุณไม่สามารถแก้ไขเรื่องที่เกิดขึ้นไปแล้วได้แต่คุณแก้ไข
ความรู้สึกนึกคิดของคุณเองได้นะคะ ลองดูสักตั้งค่ะ
ขอบคุณที่มา today.line.me
หลายคนเคยได้ยินประโยคนี้ คุณเห็นด้วยไหมคะ? เราว่ามันก็เป็นเรื่องจริงอยู่นะเพราะการให้อภัย
จะส่งผลดีต่อจิตใจเราเองและความสัมพันธ์ต่อคนรอบข้างด้วยแต่ต้องยอมรับกันตรงๆ ว่าการให้อภัย
ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยบางคนอาจใช้เวลาเป็นสิบๆ ปี เพื่อกล้าให้อภัยใครสักคนไม่แปลกหรอกค่ะ
ไม่มีคำว่านานไปหรือเร็วไปสำหรับเรื่องแบบนี้แต่ละคนก็ใช้เวลาเยียวย า หั ว ใ จ ต่างกันไป
เพราะฉะนั้นก่อนเริ่มให้อภัยใครสักคนเราต้องบอกตัวเองเสมอว่า เราจำเป็นต้องก้าวข้ามความโกรธ
เ ก ลี ย ด เ คี ย ด แ ค้ น ในใจให้ได้เสียก่อน แม้ว่าช่วงเวลาเหล่านั้นจะ ย า ก ลำบาก
แค่ไหนก็ตามจงจำไว้ว่าการให้อภัยไม่ใช่เป็นเรื่องแพ้ชนะ แต่เป็นการปลดปล่อยบ่วงที่ติดค้างในใจ
ออกไป เพื่อ สุ ข ภ า พ จิตที่ดีขึ้นในวันข้างหน้าต่างหากสิ่งดีๆ ที่จะเกิดขึ้นหลังการให้อภัยคือ
ทำให้เครียดน้อยลง ลดความกังวล หลักๆ มาจากการที่เราทิ้งอารมณ์ทางลบ เช่น โกรธ, โ ม โ ห,
เจ้าคิดเจ้า แ ค้ น ออกไป ทำให้จิตใจเราทุกข์น้อยลงไปด้วยเผลอๆ จะมีความสุขมากขึ้นด้วยซ้ำค่ะ
หากวันนี้คุณอย ากให้อภัยคนอื่นแต่ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่ างไร ‘ห้องแนะแนว’ มีวิธีคิดและฝึกฝนมาฝาก
กันเบื้องต้นค่ะ ลองนำไปปรับใช้กันดูนะคะ
“ไม่มีใครสมบูรณ์แบบ”
ทุกคนคือมนุษย์และมนุษย์ทุกคนล้วนเคยผิดพลาด แม้แต่เราเองก็ตามไม่ใช่เหรอไม่มีใครไม่เคยทำผิด
อย่ าคาดหวังความเพอร์เฟ็กต์จากคนอื่นเพราะตัวเราเองยังทำไม่ได้ ความ ล้ ม เ ห ล ว ผิดแผน
ไม่ได้ดั่งใจคือสิ่งที่เราต้องเผชิญอยู่บ่อยครั้งในชีวิต เพราะฉะนั้นหากเราจะโกรธใคร เ ก ลี ย ด ใคร
เพียงเพราะเขาทำไม่ถูกใจเราก็คงไม่ยุติธรรมนักเราจึงจำเป็นต้องบอกตัวเองว่าทุกคนมีโอกาสพลาดพลั้ง
กันได้ แต่จะรับผิดชอบต่อความผิดพลั้งนั้นอย่ างไรมากกว่า ตรงนี้ต้องทำความเข้าใจเสียใหม่ถึงจะ
เริ่มต้นให้อภัยคนอื่นๆ ได้ในขั้นตอนต่อไป
“เอาใจเขามาใส่ใจเรา”
ลองคิดในมุมกลับกันดูว่าในสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หากเราเป็นเขาเราจะทำอย่ างไร ลองถามตัวเอง
ดูว่า ‘ทำไม’ เขาถึงเลือกทำแบบนั้น มี ‘เหตุผล’ อะไรที่ตัดสินใจแบบนี้บางทีเราอาจจะทำแบบเดียว
กับที่เขาทำก็ได้นะการคิดกลับกันแบบนี้จะช่วยให้เกิดแง่มุมใหม่ๆ หรือทำให้เราเข้าใจในจุดที่เขายืนอยู่
มากยิ่งขึ้นก็ได้เพราะความเข้าใจผิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากความคิดของเราเพียงฝ่ายเดียวโดยที่ยัง
ไม่ไถ่ถามจากอีกฝ่ายเพราฉะนั้นความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นคือกุญแจสำคัญอย่ างยิ่งในเรื่องการให้อภัย
“การให้อภัยเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล”
บางคน ‘ให้อภัยแต่ไม่ลืม’ ไม่เป็นไรหรอกค่ะ นี่ไม่ใช่เรื่องผิดแต่อย่ างใด การที่เราให้อภัยเขาแปล
ว่าเราไม่คิดโกรธเคืองเขาเรื่องในอดีตแล้วแต่ที่ยังต้องจดจำเพราะเป็นบทเรียนให้ตัวเองในอนาคตว่า
จะต้องไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้ซ้ำซ้อนอีกหรือหากเกิดจะได้รู้ทางหนีทีไล่ ละรับมือได้ดียิ่งขึ้นไม่กลับไป
จ ม ทุกข์ซ้ำเดิม หรือบางคนอาจจะให้อภัยแต่ไม่กลับไปยุ่งเกี่ยวกัน ขอห่างกันไปเลยสบายใจกว่า
ก็ไม่ผิดอีกนั่นแหละวิธีการ รั ก ษ า หั ว ใ จ ของเราไม่เหมือนกันให้อภัยได้แล้ว แต่หวั่นกลัวที่จะคบ
ค้าสมาคมกันต่อไป ก็ย่อมทำได้ อย่ างน้อยที่สุดโฟกัสที่การให้อภัยซึ่งกันและกันก็เพียงพอแล้ว
ทางที่เหลือข้างหน้าก็แล้วแต่โชคชะ ต า จะกำหนดใครสะดวกแบบไหนก็ให้อภัยแบบนั้นค่ะ
“ทิ้งอดีต มองอนาคต”
การให้อภัยเปรียบเสมือนการทิ้งสิ่งที่ไม่จำเป็นออกจากชีวิต เหมือนเราดึงโซ่ตรวนที่คล้องขาเราไว้ออก
ทำให้เราเดินสะดวกยิ่งขึ้น ทำให้เราไม่ เ จ็ บ อีกต่อไปนั่นแหละค่ะ หั ว ใ จ ของการให้อภัยที่แท้จริง
คือการละทิ้งอดีตที่เคยทำให้เราทุกข์จะทำให้ใจเราเองสงบขึ้น ไม่ยึดติดเรื่องเก่าๆ พร้อมที่จะก้าวไป
ข้างหน้าด้วยความโล่งอกและสงบ
“หัดมองด้านดีๆ ของคนอื่นบ้าง”
คล้ายๆ กับการเอาใจเขามาใส่ใจเราแต่โฟกัสไปที่เรื่องบวกๆ ของผู้อื่นแทนเพื่อฝึกให้เรามองรอบด้าน
และใจกันมากขึ้นในมุมร้ า ยๆ ที่เราเจออาจไม่ใช่ตัวตนเดียวของเขาในสถานการณ์อื่นเขาอาจจะมีด้านบวก
ให้เห็นเพียงแค่เราต้องเปิดใจที่จะมองและยอมรับนั่นจะทำให้เราเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันเพิ่มขึ้น
“หากไม่กล้า ก็ปรึกษาคนรอบข้าง”
หากคุณ พ ย า ย า ม จะให้อภัยใครสักคนแต่ยังไม่สนิทใจ ลองพูดคุยกับคนที่ไว้ใจรอบตัวดูก่อน
เผื่อจะได้ความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากที่เรามองการติดอยู่ในความรู้สึกลบอาจทำให้เรามองข้ามเรื่อง
บางเรื่องไปโดยไม่ตั้งใจบางครั้ง ‘ก า ว ใจ’ จากคนอื่นก็เป็นเรื่องที่จำเป็นเช่นกันนะคะ การให้อภัย
ไม่ใช่แค่พูดออกไปแต่อภัยที่แท้จริงคือมาจากหัวใจที่ปล่อยวางชำระล้างจิตใจให้ไม่ผูกติดกับ อ า ร ม ณ์ขุ่นมัว
ปลดตัวเองจากความ เ จ็ บ ป ว ด แม้ว่าคุณไม่สามารถแก้ไขเรื่องที่เกิดขึ้นไปแล้วได้แต่คุณแก้ไข
ความรู้สึกนึกคิดของคุณเองได้นะคะ ลองดูสักตั้งค่ะ
ขอบคุณที่มา today.line.me
6 วิธีฝึก “ให้อภัยคนที่ทำให้ใจเราทุกข์” ถ้าทำได้ถือว่าเราชนะเขาแล้ว
Reviewed by Dusita Srikhamwong
on
ตุลาคม 31, 2563
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: